พลภัทร
08-05-2014, 20:33
เนื่องจากพบว่าข้อมูลคำสอน เรื่องอาชีพผู้พิพากษาซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการตัดสินคดี และลงโทษผู้กระทำผิดตามกฎหมาย มีคำสอนออกเป็น ๒ แนวทาง
แนวทางหนึ่งอธิบายว่า แม้จะตัดสินคดีลงโทษผู้อื่น เช่น ปรับ จำคุก หรือในคดีแพ่งพิพากษาให้ใช้ค่าเสียหาย ก็ไม่เป็นบาป เพราะกระทำตามหน้าที่ที่กฎหมายบัญญัติ
ส่วนอีกแนวทางหนึ่งอธิบายว่า แม้จะทำตามหน้าที่แต่เป็นหน้าที่ตามกฎหมายซึ่งเป็นคนละเรื่องกับกฎแห่งกรรม ดังนั้น การตัดสินคดีลงโทษผู้อื่น เช่น ปรับ จำคุก หรือในคดีแพ่งพิพากษาให้ใช้ค่าเสียหาย ย่อมเป็นการสร้างบาป อกุศล และแนวทางนี้ ยังยกเรื่องพระเตมีย์ชาดกมาอ้างอิงด้วย
จึงขอเรียนสอบถามพระอาจารย์ว่า ๑. คำสอนที่ถูกต้อง ควรเป็นเช่นไร
๒. หากอาชีพนี้ก่อให้เกิดบาปกรรม ดังนั้น ก็หมายความว่าเป็นอาชีพที่ไม่ควรทำหรือไม่ครับ
กราบขอบพระคุณพระอาจารย์
:875328cc:
แนวทางหนึ่งอธิบายว่า แม้จะตัดสินคดีลงโทษผู้อื่น เช่น ปรับ จำคุก หรือในคดีแพ่งพิพากษาให้ใช้ค่าเสียหาย ก็ไม่เป็นบาป เพราะกระทำตามหน้าที่ที่กฎหมายบัญญัติ
ส่วนอีกแนวทางหนึ่งอธิบายว่า แม้จะทำตามหน้าที่แต่เป็นหน้าที่ตามกฎหมายซึ่งเป็นคนละเรื่องกับกฎแห่งกรรม ดังนั้น การตัดสินคดีลงโทษผู้อื่น เช่น ปรับ จำคุก หรือในคดีแพ่งพิพากษาให้ใช้ค่าเสียหาย ย่อมเป็นการสร้างบาป อกุศล และแนวทางนี้ ยังยกเรื่องพระเตมีย์ชาดกมาอ้างอิงด้วย
จึงขอเรียนสอบถามพระอาจารย์ว่า ๑. คำสอนที่ถูกต้อง ควรเป็นเช่นไร
๒. หากอาชีพนี้ก่อให้เกิดบาปกรรม ดังนั้น ก็หมายความว่าเป็นอาชีพที่ไม่ควรทำหรือไม่ครับ
กราบขอบพระคุณพระอาจารย์
:875328cc: